วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

My Research


My Research


Title : The effectiveness of teaching English writing and creative thinking activities by using Think Tank Technique 


Authors :  1. Chanida yotsapol
                    2. Noochjari Khumboonrueang
                    3. Jirapan Duangchatom
                    4. Thitirat Prajamthin


Adviser :  Assoc.Prof Dr. Thoopthong Kwangsawad


ABSTRACT 

     This study aimed to (1) designs the effectiveness of English writing and creative thinking activities by using Think Tank Technique with a required efficiency of 70/70. (2) Examine the effectiveness indexes of using Think Tank Technique to improve writing and creative thinking skills. (3) Compare English writing skills before and after using Think Tank Technique. The samples were 18 Mathtayomsuksa 2 students selected by cluster random sampling. The instruments used in the experiment were 4 lesson plans which were emphasized on improving English writing and creative thinking skills by using Think Tank Technique, pre-test and post-test. The data were statistically analyzed by mean, percentage, standard deviation and t-test. 

      The results of this study revealed that English writing and creative think activities by using Think Tank Technique reached its efficiency of 71.54/64.17. It was lower than the criterion (70/70). The effectiveness index was 0.41 indicated that the students could improve their learning at 41%. The post-test scores of the students were significantly higher than pre-test scores of the students at the 0.05 level.

      It shows that using Think Tank Technique to improve writing and creative thinking skills have achieved goal. Think Tank Technique could help the teachers explore a variety of topics, engenders useful grammar and vocabulary exercises for pupils. Also, Think Tank Technique could help the students improve their writing and creative thinking skills. It was not only sparked the students to write but inspired them to study English.


วิจัยห้าบท

http://www.4shared.com/rar/USTJh7ZG/5_online.html


แผนวิจัย

Unit: Myself  Topic: Self-Esteem

http://www.4shared.com/file/Otbv2YGC/Advertising.html


Unit: Places Topic: Places and Personal Choices Subtopic: People Profiles


http://www.4shared.com/office/DNQShP2a/people_profiles.html


Unit: People Topic: Friends Subtopic: Giving Advice/ Listening to friends

http://www.4shared.com/file/8qh0tG4Z/Advice-Listening_to_Friends.html



Unit: Culture Topic: Wisdom Subtopic: Belief

http://www.4shared.com/office/L5J_EBRM/Beliefs.html



power point วิจัย

Unit: Myself  Topic: Self-Esteem

http://www.4shared.com/file/D64WvVxK/__online.html


Unit: Places Topic: Places and Personal Choices Subtopic: People Profiles

http://www.4shared.com/file/6Tfchd8G/Unit.html


Unit: People Topic: Friends Subtopic: Giving Advice/ Listening to friends

http://www.4shared.com/file/OEuZXwyB/JIB.html


Unit: Culture Topic: Wisdom Subtopic: Belief

http://www.4shared.com/office/Jy0zo-Hs/research.html

My Certificates

ผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ขั้นความรู้เบื้อต้น


เข้าร่วมกิจกรรม English Camp กับชาวต่างชาติ



เข้าร่วมกิจกรรม English Camp กับชาวต่างชาติ




เข้าร่วมกิจกรรม English Delivery Camp ครั้งที่ 1


เข้าร่วมกิจกรรม English Delivery Camp ครั้งที่ 2


เข้าร่วมกิจกรรม English Delivery Camp ครั้งที่ 3



เข้าร่วม English Camp กับชมรมครูภาษาอังกฤษ


เข้าร่วมโครงการจุดประกายไฟใส่สีฝันครั้งที่ 9


เข้าร่วมค่ายสร้างคนคนสร้างค่ายครั้งที่ 1


เข้าร่วมค่ายสร้างคนคนสร้างค่ายครั้งที่ 2


รางวัลชนะเลิศโครงการห้องพักน่าอยู่


วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

About Me






My name is Noochjari Khumboonrueang

My nickname is  Noochy

ID : 51010512511

Major : EN

Mahasarakham University

Tel : 08-6862-6011

E-mail : noon_gg@hotmail.com


วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

My Activities

English Camp


English Camp


English Camp

English Camp


English Camp


English Camp


English Camp


English Camp


Social service


Social service


ร่วมแข่งขันฟุตซอลในงานกีฬาคณะศึกษาศาสตร์


แนะแนวและแนะนำการศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย


Christmas Party





Christmas Party


แสดงละครเวทีในงาน Poetry Night 


แสดงละครเวทีในงาน Poetry Night 






Song

Song for Kids


  Songs are very good way to relax yourself. But they could also be useful in improving your spoken English. Improve Spoken English is going to present the use of English Songs for improving your communication skills. Songs are fun when listened to, so they make a very good learning companion. Get a collection of good and slow English songs, and if possible get their lyrics also. This is all you need to get started for this English exercise.

Get Slow English Tracks
 Slow English tracks are very easy to understand, and sing along. The importance of getting slow tracks is that, the words pronounced in these songs are very clear. So it helps in understanding the way the words in English are pronounced. Not to mention that you will definitely come across new English words in these songs, so they will help in improving your vocabulary also.

Get the Lyrics of the English Song
 Make sure that you get the lyrics of the song you are listening to. It will help you to understand which words are pronounced in which way. This is important as normally there are many words in songs which we do not understand, and leave them as it is. This will hamper your growth in vocabulary. If the lyrics are not available, in that case you can move ahead with that song. Anyhow it will help you in your pronunciation and communication skills.

Sing along the song in English
 Every language has some accent, so to get a feel of that, you need to sing along the song. Soon you will realize that, as you sing you realize the mistakes you make in pronunciation. For this part the lyrics of the English song are very helpful. You just read the lyrics along with the song. It is pure fun to do, and you will in the process attain good fluency in English Communication. As you sing along the song you will realize that practically you are fulfilling the basic requirement for English improvement, and the is speak in English, and that too in a proper way.
The process of English improvement should be consistent, and breaks should not be there, as it will make you loose interest and continuity. That's it for today friends, Improve Spoken English will soon be back.

Finger family song




Color Song


     




วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2555

CLIL


การสอนแบบบูรณาการ (CLIL)


        

เทคนิคการสอนแบบบูรณาการ เป็นการนำสาระการเรียนรู้ในวิชาที่สอนไปบูรณาการกับวิชาอื่นๆ Content and Language Integrated Learning ( CLIL)
            บูรณาการ หมายถึงการทำให้สมบูรณ์ ซึ่งอาจจะขยายความเพิ่มเติมได้อีกว่าหมายถึงการทำให้หน่วยย่อย ๆ ที่สัมพันธ์อิงอาศัยกันเข้ามาร่วมทำหน้าที่อย่างประสานกลมกลืนเป็นองค์รวมหนึ่งเดียว ที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์ในตัวเอง ( พระเทพเวที 2531 : 24 )
               บูรณาการ หมายถึงการนำเอาศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์ในการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ ( Integrated Curriculum ) คือหลักสูตรที่นำเอาเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ มาหลอมรวมเข้าด้วยกันทำให้เอกลักษณ์ของแต่ละรายวิชาหมดไป เช่นเดียวกัน การเรียนการสอนที่ดำเนินการด้วยวิธีบูรณาการเราเรียกว่า การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ( Integrated  Instruction ) คือเน้นที่องค์รวมของเนื้อหามากกว่าองค์ความรู้ของแต่ละรายวิชา  และเน้นที่การเรียนของผู้เรียนเป็นสำคัญยิ่งกว่าการบอกเนื้อหาของครู
     ( สุวิทย์  มูลคำ และคณะ : 2543  )
             การจัดการเรียนการสอนแบบหน่วยเป็นการบูรณาการหลักสูตรประเภทหนึ่งที่เรียกว่าสหวิทยาการ ( Interdisciplinary ) วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบหน่วยมีคุณลักษณะสำคัญคือการตั้งหัวเรื่องที่น่าสนใจขึ้นมา แล้วนำความรู้จากวิชาการต่าง ๆ มาโยงสัมพันธ์กับหัวเรื่องนั้นเพื่อประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ความแตกต่างที่สำคัญที่จำแนกการจัดการเรียนการสอนออกจากหลักสูตรก็คือ การเรียนการสอนเน้นบูรณาการที่ระดับเนื้อหาวิชาเฉพาะส่วนที่เกี่ยวพันกัน แต่หลักสูตรเน้นบูรณาการที่รายวิชาโดยตรงก่อนที่จะไปแยกกำหนดเป็นเรื่องที่จะจัดการเรียนการสอนต่อไป
           วัฒนา  ระงับทุกข์  ได้ให้ความหมายของบูรณาการว่า “ การนำศาสตร์ต่างๆมาผสมผสานกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง”
     ชนาธิป  พรกุล  ได้ให้ความหมายของบูรณาการว่า “ การเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ทุกชนิด  ที่บรรจุอยู่ในแผนของหลักสูตร  เป็นการเชื่อมโยงแนวนอนระหว่างหัวข้อและเนื้อหาต่างๆที่เป็นความรู้ทั้ง 3 ด้าน  ได้แก่  พุทธิพิสัย  ทักษะพิสัย  และจิตพิสัย  การบูรณาการทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน  และรู้ในเรื่องนั้นอย่างลึกซึ้ง  การบูรณาการความรู้เป็นสิ่งจำเป็นโดยเฉพาะในยุคที่มีความรู้ ข้อมูลข่าวสารมาก  จึงเกิดเป็นหลักสูตรที่เรียกว่า  หลักสูตรบูรณาการ  (Integrated  curricula)  ซึ่งพยายามสร้างหัวเรื่อง  (Themes)  ใน  โปรแกรมวิชาโดยนำความคิดหลักในวิชามาสัมพันธ์กัน  และสัมพันธ์กับวิชาอื่นด้วย”
    หลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated  Curricula)  เป็น หลักสูตรที่นำเอาศาสตร์สาขาวิชาต่างๆที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดหลักสูตรและจัดการเรียน  ทำให้เอกลักษณ์ของแต่ละรายวิชาหมดไป  เกิดเป็นเอกลักษณ์ใหม่ของหลักสูตรโดยรวม ทำให้เกิดความรู้ที่มีความหมาย มีความหลากหลายและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
   การเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integrated  Instruction)  เน้นที่องค์รวมของเนื้อหามากกว่าองค์ความรู้ของแต่ละรายวิชาและเน้นที่การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญยิ่งกว่าการบอกเนื้อหาของครู

    ลักษณะสำคัญของการบูรณาการ
              ผลการจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ    ถ้าสามารถดำเนินได้อย่างสมบูรณ์แล้วก็ควรจะมีลักษณะโดยรวมดังต่อไปนี้ (ธำรง  บัวศรี : 2532 )
        1.  เป็นการบูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้  เพราะในปัจจุบันนี้ปริมาณของความรู้มีมากขึ้นเป็นทวีคูณ  รวมทั้งมีความสลับซับซ้อนมากขึ้นเป็นลำดับ  การเรียนการสอนด้วยวิธีการเดิม  อาทิ การบอกเล่า  การบรรยายและการท่องจำ  อาจจะไม่เพียงพอที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพได้  ผู้เรียนควรจะเป็นผู้สำรวจความสนใจของตนเองว่าในองค์ความรู้หลายหลากนั้น  อะไรคือสิ่งที่ตนเองสนใจอย่างแท้จริง  ตนควรแสวงหาความรู้เพื่อตอบสนองความสนใจเหล่านั้นได้อย่างไร  เพียงใด  ด้วยกระบวนการเช่นไร  ซึ่งแน่นอนว่า กระบวนการเรียนการสอนลักษณะนี้ย่อมขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างบุคคล  (Individual  Differences)ไม่ใช่น้อย
               2.  เป็นการบูรณาการระหว่างพัฒนาการความรู้และพัฒนาการทางจิตใจ  นั่นคือให้ความสำคัญแก่  จิตพิสัย  คือเจตคติ  ค่านิยม ความสนใจ  และสุนทรียภาพ  แก่ผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ด้วย  ไม่ใช่เน้นแต่เพียงองค์ความรู้หรือพุทธิพิสัยแต่เพียงอย่างเดียว  อันที่จริงการทำให้ผู้เรียนเกิดความซาบซึ้งขึ้นเสียก่อนที่จะได้ลงมือศึกษานั้น  นับได้ว่าเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญยิ่งสำหรับจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นทั้งแก่ผู้สอนและผู้เรียน
  3.   บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทำในข้อนี้ก็มีนัยแห่งความสำคัญและความสัมพันธ์เช่นเดียวกับที่ได้กล่าวไว้แล้วในข้อสอง  เพียงแต่เปลี่ยน  จิตพิสัยเป็นทักษะพิสัยเท่านั้น
  4.  บูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของผู้เรียน  คือ การตระหนักถึงความสำคัญแห่งคุณภาพชีวิตของผู้เรียนว่าเมื่อได้ผ่านกระบวนการเรียนการสอนตามหลักสูตรแล้ว  สิ่งที่เรียนที่สอนในห้องเรียนจะต้องมีความหมายและมีคุณค่าต่อชีวิตของผู้เรียนอย่างแท้จริง
 5. บูรณาการระหว่างวิชาต่างๆ  เพื่อให้เกิด  ความรู้  เจตคติและการกระทำที่เหมาะสมกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนอย่างแท้จริง  ตอบสนองต่อคุณค่าในการดำรงชีวิตของผู้เรียนแต่ละคน  การบูรณาการความรู้ของวิชาต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อตอบสนองความต้องการหรือเพื่อตอบปัญหาที่ผู้เรียนสนใจจึงเป็นขั้นตอนสำคัญที่ควรจะกระทำในขั้นตอนของบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง

ทำไมต้องบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอน

 เหตุผลสนับสนุนการบูรณาการ
1.      การขยายตัวของความรู้  มีเรื่องที่จำเป็นต้องเพิ่มเข้ามาในหลักสูตรมากมาย  เช่น  เอดส์   
     เพศศึกษา  สิ่งแวดล้อม  จึงจำเป็นต้องหาทางเลือกสาระให้ผู้เรียนเรียนในเวลาที่เท่าเดิม
           2. หลักสูตรปัจจุบันไม่เหมือนชีวิตจริงเพราะเรียนเป็นช่วง  โรงเรียนต้องแสดงให้เห็นว่าแต่ละวิชาอิทธิพลต่อผู้เรียนอย่างไร  เขาควรต้องเห็นความสำคัญของทุกวิชาที่ถูกจัดเชื่อมโยงกันไว้
                3. ปัจจุบันเราไม่อาจฝึกคนให้เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะไม่ได้  จะต้องฝึกให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการสิ่งที่เรียนกับชีวิตในโลกกว้างได้  (Jacobs, 1989 : 3-4)

            นอกจากนี้ยังมีเหตุผลสนับสนุนการบูรณาการอย่างน้อยอีก 2 ประการคือ
   1.    ไม่มีหลักสูตรวิชาใดเพียงวิชาเดียวที่สำเร็จรูปและสามารถนำไปแก้ปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง
     2.  วิชาการหรือแนวคิดต่างๆที่ใกล้เคียงกันหรือเกี่ยวข้องกันควรนำมาเชื่อมโยงกันเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย (เพราพรรณ  โกมลมาลย์ , 2541 : 66)

 เนื่องจากวิถีชีวิตจริงของคนเรามีเรื่องราวต่าง ๆ ที่มีความหมายสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ไม่ได้  
     แยกออกจากกันเป็นเรื่อง ๆ ดังนั้น (สุวิทย์ มูลคำ  และคณะ : 2543 )
 1.    ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดีขึ้นและเรียนรู้อย่างมีความหมายเมื่อมีการบูรณาการเข้ากับชีวิตจริง   
     โดยการเรียนรู้ในสิ่งที่ใกล้ตัวแล้วขยายกว้างไกลตัวออกไป
2.    การขยายตัวของความรู้ในปัจจุบัน ขยายไปอย่างรวดเร็วมากมีเรื่องใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย จึงจำเป็นที่จะต้องเลือกสาระที่สำคัญและจำเป็นให้ผู้เรียนในเวลาที่มีเท่าเดิม
3.    ไม่มีหลักสูตรวิชาใดเพียงวิชาเดียวที่สำเร็จรูป และสามารถนำไปใช้แก้ปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงได้
4.    เนื้อหาวิชาต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกันหรือเกี่ยวข้องกันควรนำมาเชื่อมโยงกันเพื่อให้ผู้เรียนรู้อย่างมีความหมาย ลดความซ้ำซ้อนเชิงเนื้อหาวิชา ลดเวลา แบ่งเบาภาระของครูผู้สอน
5.    เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ ความคิด ความสามารถและทักษะที่หลากหลาย

ประเภทของการบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอน
เราสามารถบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนได้เป็นสองแบบ( สุวิทย์ มูลคำ อ้างถึงUNESCO – UNEP, 1994 : 51 )
1.     การบูรณาการแบบสหวิทยาการ 
      ( Interdisciplinary )
เป็นการสร้างหัวเรื่อง ( Theme) ขึ้นมาแล้วนำเนื้อหาจากวิชาต่าง ๆ มาโยงสัมพันธ์กับหัวเรื่องนั้น ซึ่งบางครั้งก็อาจเรียกวิธีบูรณาการแบบนี้ได้ว่า สหวิทยาการแบบมีหัวข้อ ( Themetic Interdisciplinary Studies) หรือบูรณาการที่เน้นการนำไปใช้เป็นหลัก( Application – First Approach )
การกำหนดหัวเรื่อง ( Theme ) ได้แก่ การสร้างหัวเรื่องโดยมีหลักในการกำหนดหัวเรื่องดังนี้
        1.      เป็นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ และมีโอกาสได้เลือกเรียน
2.      เป็นเรื่องที่สามารถโยงความสัมพันธ์ได้หลายวิชาหรือหลายกลุ่มประสบการณ์
3.      เป็นเรื่องที่นักเรียนมีประสบการณ์เดิมอยู่แล้วและสอดคล้องกับชีวิตจริง และมีความหมายต่อผู้เรียน
4.      เป็นเรื่องที่มีแหล่งความรู้ให้ผู้เรียนรู้ได้ศึกษาค้นคิดอย่างหลากหลาย และเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับท้องถิ่นกับความรู้ที่เป็นสากล
5.      เป็นเรื่องที่เหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียนและส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน  การตั้งชื่อต้องทันสมัย และน่าสนใจยั่วยุให้ผู้เรียนอยากรู้ อยากเรียน
2.    การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary )
         เป็นการนำเรื่องที่ต้องการจะให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สอดแทรก ( Infusion ) ไว้ในวิชาต่าง ๆ หรือบูรณาการเน้นเนื้อหาของวิชาเป็นแกนแล้วนำสิ่งที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเกิดไปสอดแทรกในวิชาแกนดังกล่าวซึ่งบางครั้งเราก็อาจจะเรียกวิธีบูรณาการแบบนี้ได้ว่า การบูรณาการที่เน้นเนื้อหารายวิชาเป็นหลัก ( Discipline First Approach )  
        กรมวิชาการได้แบ่งการบูรณาการหลักสูตรและการสอนเป็น 4 แบบดังนี้
1.   การบูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว
      ครูสอนสามารถจัดการเรียนรู้โดยเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กับหัวเรื่องที่สอดคล้องกับชีวิตจริง หรือสาระที่กำหนดขึ้นมา เช่น เรื่องสิ่งแวดล้อม น้ำ เป็นต้น ครูผู้สอนสามารถเชื่อมโยงสาระ และกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มสาระต่าง ๆเช่น   การอ่าน   การเขียน   การคิด   คำนวณ  การคิดวิเคราะห์ต่าง ๆ ทำให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะ และกระบวนการเรียนรู้ไปแสวงหาความรู้   ความจริงจากหัวข้อเรื่องที่กำหนด               

2.   การบูรณาการแบบคู่ขนาน
     มีครูผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป จัดการสอนโดยอาจยึดหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง   แล้วบูรณาการเชื่อมโยงแบบคู่ขนาน เช่น ครูผู้สอนคนหนึ่งสอนวิทยาศาสตร์เรื่องเงา ครูผู้สอนอีกคนอาจสอนคณิตศาสตร์เรื่องการวัดระยะทาง โดยการวัดเงา คิดคำนวณในเรื่องเงา ในช่วงเวลาต่าง ๆ จัดการทำกราฟของเงาในระยะต่าง ๆ   หรืออีกคนหนึ่งอาจให้ ผู้เรียนรู้ศิลปะ   เรื่องเทคนิค  การวาดรูปที่มีเงา
3.      การบูรณาการแบบสหวิทยาการ
การบูรณาการในลักษณะนี้นำเนื้อหาจากหลายกลุ่มสาระมาเชื่อมโยงเพื่อจัดการเรียนรู้ซึ่งโดยทั่วไปผู้สอนมักจัดการเรียนการสอนแยกตามรายวิชา หรือกลุ่มวิชา แต่ในบางเรื่องครูผู้สอน  จัดการเรียนการสอนร่วมกันในเรื่องเดียวกัน เช่น เรื่องวันสิ่งแวดล้อมของชาติ   ครูผู้สอนวิชาภาษาไทยจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนรู้ภาษาคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผู้สอนวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรมค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผู้สอนสังคมศึกษาให้ผู้เรียนค้นคว้าหรือทำกิจกรรมชมรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม    และครูผู้สอนสุขศึกษาอาจจัดทำกิจกรรมเกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะเป็นต้น
4.      การบูรณาการแบบโครงการ
             ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการเป็นโครงการโดยผู้เรียนและครูผู้สอน ร่วมกันสร้างสรรค์โครงการขึ้น   โดยใช้เวลาการเรียนต่อเนื่องกันในหลายชั่วโมงด้วยการนำเอาจำนวนชั่วโมงของวิชาต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนเคยสอนแยกกัน ในลักษณะของการสอนเป็นทีม ในกรณีที่ต้องการเน้นทักษะบางเรื่องเป็นพิเศษครูผู้สอนสามารถแยกการสอนได้  เช่น   กิจกรรมเข้าค่ายดนตรี  กิจกรรมเข้าค่ายภาษาอังกฤษ  กิจกรรมเข้าค่ายศิลปะ เป็นต้น

ที่มา: http://portal.in.th/inno-na/pages/291/



Power Point (CLIL)
View more presentations from Chanida507



VDO CLIL













CALL

CALL

CALL (Computer-Assisted Language Learning Program)

Chris Higgins, Gallaudet University
For many years, foreign language teachers have used the computer to provide supplemental exercises. In recent years, advances in computer technology have motivated teachers to reassess the computer and consider it a valuable part of daily foreign language learning. Innovative software programs, authoring capabilities, compact disk technology, and elaborate computer networks are providing teachers with new methods of incorporating culture, grammar, and real language use in the classroom while students gain access to audio, visual, and textual information about the language and the culture of its speakers.


Computer-Based Foreign Language Programs


For many years, basic drill-and-practice software programs dominated the market in computer-assisted language learning (CALL). These programs focused on vocabulary or discrete grammar points. A vast array of drill-and-practice programs are still available; in addition, however, an increasing number of innovative and interactive programs are being developed. Simulation programs, while reinforcing grammar points, present students with real-life situations in which they learn about the culture of a country and the protocol for various situations. For example, the Ticket series by Bluelion Software and Recuerdos de Madrid from D.C. Heath are simulations that provide country-specific situations in a task-based format. PC Globe and encyclopedia-type programs are information programs that allow students to conduct research in the target language. Games such as the foreign language versions of Where in the World Is Carmen Sandiego? by Brøderbund Software or Trivial Pursuit from Gessler publishers provide an entertaining environment for students to learn culture and the target language through problem-solving and competition. Writing assistants, like Salsa and Système-D (Davis, 1992; Garrett, 1991) aid students in writing compositions in the target language by providing help in grammar, style, and verb conjugation and use (Willetts, in press).

แผนการสอน (CALL)


http://www.4shared.com/file/r7H3AGl2/call.html?





VDO CALL